Social

Queerbaiting การตลาดที่ลดทอนอัตลักษณ์ทางเพศ และเสียงสะท้อนจากความหลากหลาย

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย “ชอบผู้หญิงเพราะอกหักจากผู้ชาย-ยังไม่เจอผู้ชายดีๆ”, “เกย์นิยมแสดงออกเรื่องเพศ”, “ไบเช็กซ์ชวลไม่มีจริง แค่อยู่ในช่วงสับสน”, “ทรานส์แมนต้องแสดงออกเหมือนผู้ชาย” ฯลฯ ภาพจำหรือทัศนคติที่เหมารวม (stereotype) เหล่านี้เป็นความทรงจำกระแสหลักของผู้คนในสังคมที่มีต่อคนในคอมมูนิตี้ LGBTQIAN+ ทำให้กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศมีภาพลักษณ์ที่ผูกกับอคติด้านเดียวจากสื่อที่พยายามฉายภาพซ้ำไปมาอย่างยาวนานจนเราจำได้ขึ้นใจ และปักธงว่าชาว LGBTQIAN+ ...

Writings

‘ทวิตภพ’ ภายใต้การนำของ Elon Musk: พื้นที่แห่งการแสดงออกอย่างเสรี หรือแหล่งบ่มเพาะ hate speech

เรื่องและภาพ: ณัฐกมล สิทธิวงศ์ หลายคนคงทราบข่าวที่สะเทือนวงการเทคโนโลยีไปพอสมควร เมื่อ Elon Musk ผู้บริหารระดับสูงสุดของบริษัท Tesla และ SpaceX ปิดดีลซื้อกิจการของสื่อโซเชียลมีเดียอย่าง twitter (ทวิตเตอร์) ได้สำเร็จ ในมูลค่า 44,000 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 1.6 ล้านล้านบาท) พร้อมกับเชิญพนักงานระดับสูงออกทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ CEO อย่าง Parag Agrawal ทั้งนี้การตัดสินใจซื้อกิจการนั้นมีเค้าลางมาให้เห็นตั้งแต่ช่วงกลางเดือนเมษายนที่ Musk ยื่นข้อเสนอแก่ทวิตเตอร์เป็นครั้งแรก จนนำมาซึ่งเสียงวิพากษ์วิจารณ์และสนับสนุนจากผู้ใช้งานทวิตเตอร์ที่มีจุดยืนทางสังคม หรือทางการเมืองที่แตกต่างกัน Free ...

Writings

Art Therapy: อีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการระบายความรู้สึกผ่านงานศิลปะ

เรื่องและภาพ: ฌัชฌา สรนันท์ เมื่อเติบโตขึ้น ความเครียด ความกดดัน และภาระที่ต้องแบกรับก็มากขึ้นตามวัย ไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับใครหลายคนที่ต้องเผชิญกับความรู้สึกหม่นเศร้า และความอึดอัดที่อยู่ส่วนลึกของจิตใจ หนำซ้ำการพูดคุยกับใครสักคนก็อาจเป็นเรื่องยาก เพราะคนรับฟังอาจไม่เข้าใจความรู้สึกของเราได้ทั้งหมด หรือจะเป็นการถูกตัดสินจากคนภายนอก  และทำให้โดนปฏิบัติในทางที่ไม่เหมือนเดิม ศิลปะบำบัด หรือ Art Therapy จึงอาจเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการเยียวยาบาดแผลที่เกิดขึ้นภายในจิตใจได้ ศิลปะบำบัด ...

Writings

เชียร์ลีดเดอร์: กิจกรรมชมรม หรือการสานต่ออำนาจนิยม ?

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย คำเตือน: เนื้อหาพูดถึงความรุนแรงทางร่างกาย และความรุนแรงทางใจ ‘อำนาจนิยม’ เป็นฐานของปัญหาในระบบการศึกษาที่ฝังรากลึกมาอย่างยาวนาน ทั้งยังมีกระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่แฝงอุดมการณ์บางอย่าง จนทำให้คนที่ถูกใช้อำนาจไม่รู้ตัวหรือยอมจำนนต่ออำนาจนั้น ซึ่งกระทำผ่านการสร้าง ‘ผู้ใช้อำนาจ’ ให้มีสถานะเหนือกว่าเพื่อความชอบธรรมในการออกคำสั่ง และสร้าง ‘ผู้อยู่ใต้อำนาจ’ ให้ยอมรับและทำตามผู้ออกคำสั่งนั้นอย่างไม่ตั้งคำถาม เราจะพบเห็นการใช้อำนาจในลักษณะนี้แฝงอยู่ในเกือบทุกกิจกรรมของระบบการศึกษา ตั้งแต่ก้าวเข้ารั้วโรงเรียน ผ่านการกำหนดกฎระเบียบตั้งแต่หัวจรดเท้า ไปจนถึงกิจกรรมต่างๆ นอกห้องเรียน ...

Data

บทเรียนและบาดแผลที่ครูฝากไว้

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย คำเตือน: เนื้อหาพูดถึงความรุนแรงภายในสถานศึกษา ทั้งความรุนแรงทางร่างกาย และความรุนแรงทางใจ ‘ครู’ ในความทรงจำของคุณเป็นคนอย่างไร ?ครูที่อบรมพร่ำสอนให้เราเติบโตไปอย่างมีคุณภาพ ครูที่กวดขันให้เราเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ครูที่ทุ่มเทเอาใจใส่จนเป็นตัวแทนของคำว่า ‘พระคุณที่สาม’ หรือครูที่เราอาจจำบทเรียนที่เคยเรียนด้วยได้เลือนลาง แต่กลับจำบาดแผลที่ครูคนนั้นฝากไว้ได้ชัดเจน ...

Writings

ผู้หญิงกับงานบ้านผ่านสื่อโฆษณา: พื้นที่ต่อรองทางอำนาจหรือการผลิตซ้ำ

เรื่อง : พัณณิตา ดอนเลย ภาพประกอบ : เก็จมณี ทุมมา ภาพของผู้หญิงในสังคมโลก โดยเฉพาะสังคมเอเชียมักถูกผูกติดไว้กับบทบาทความเป็นแม่และเมีย การรักนวลสงวนตัว หรือแม้แต่การเป็น “แม่ศรีเรือน” ส่งผลให้งานบ้านและเครื่องใช้ในครัวถูกยึดโยงว่าเป็นสินค้าในหน้าที่ของเพศหญิง ซึ่งการผูกโยงงานกับเพศไม่ได้จำกัดอยู่แค่เพียงชีวิตประจำวันเท่านั้น ...

Writings

แฟนคลับเอาไงดี ศิลปินตีกันแล้ว

เรื่องและภาพ : เจตณัฐ พิริยะประดิษฐ์กุล เชื่อว่าทุกคนมีศิลปินที่ชื่นชอบในดวงใจที่ทำให้เราคอยติดตามผลงาน ตามซัพพอร์ตการกระทำเกือบทุกอย่างของเขา ทำให้เราเรียกตัวเองว่าแฟนคลับอย่างภาคภูมิใจ ยิ่งผลงานหรือไลฟ์สไตล์ของศิลปินโดนใจมากเท่าไร เราก็ยิ่งชื่นชอบและอยากสนับสนุนมากเท่านั้น ทุกคนคงไม่ได้ชื่นชอบศิลปินเพียงแค่คนเดียวบนโลกใบนี้ บางคนอาจชอบเป็นสิบ หรือเป็นร้อยคนก็ได้ ยิ่งถ้าศิลปินที่ชอบได้มีโอกาสสร้างผลงานร่วมกัน (collab) เราคงดีใจจนตัวลอย ...

Writings

กสทช.จะเคาะควบรวมทรู-ดีแทคแล้วยังไง ทำไมคนไทยต้องสนใจด้วย?

เรื่อง: พรรณรมณ ศรีแก้ว ภาพ: วรินธร อมรากุล วันที่สัมภาษณ์: 16 ตุลาคม 2565 ดีล ‘ควบรวมทรู-ดีแทค’ เป็นประเด็นร้อนในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ ...

Writings

แนวทางการปฏิบัติงานของสื่อ บนเพดานจริยธรรมที่กำลังขยับสูงขึ้น

เรื่องและภาพ: ปาณัสม์ จันทร์กลาง เหตุการณ์การกราดยิงที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ.หนองบัวลำภูในวันที่ 6 ตุลาคมที่ผ่านมาเป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นซ้ำในสังคมไทย หลังจาก ‘เหตุกราดยิงโคราช’ ครั้งก่อนที่ห้างสรรพสินค้า Terminal21 จ.นครราชสีมา เมื่อปี 2563 ที่นอกจากจะสร้างความเศร้าโศกเสียใจให้กับคนไทยมาแล้ว ...

Posts navigation